วุฒิการศึกษา
– ปริญญาตรี ศบ.(จิตรกรรม) เกียรตินิยมอันดับ2 มหาวิทยาลัยศิลปากร
– ปริญญาโท ศม.(จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผลงานวิชาการ
ผลงานวิจัย
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2550). การสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมสื่อผสมจากสัมพันธภาพของชีวิต. บทความวิชาการ
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2535). บทความวิเคราะห์ผลงานศิลปินชั้นเยี่ยม ในมหากรรมศิลปกรรม 16 ศิลปินชั้นเยี่ยมแห่งชาติ
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2535). บทความศิลปะนอกกรอบในนิตยสาร “ลลนา” ฉบับที่ 465, ปักษ์หลัง, พ.ศ. 2535, หน้า 168.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2537). บทความพิเศษในสูจิบัตรนิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยของศิษย์มหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม ปี พ.ศ. 2521-2536
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2542). บัณฑิตศิลกรรมศาสตร์ ปี ค.ศ. 2000. วารสารวิชาการศิลปกรรมบูรพา, ปีที่ 2, 2542, หน้า 79-85.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2545). ความหมายความสำคัญของศิลปะสื่อประสม. วารสารวิชาการศิลปกรรมบูรพา. 5(1), มิถุนายน-พฤศจิกายน 2545, หน้า 6-14.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2546). ศิลปกรรมสื่อผสม: รูปลักษณ์ทางกายภาพที่ปรากฏ. วารสารวิชาการศิลปกรรมบูรพา, 6(1), มิถุนายน- พฤศจิกายน 2546, หน้า 42-58.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2550). ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์จิตรกรรมด้วยเทคนิคแลคเกอร์แวร์ของเวียดนาม. วารสารศิลปกรรมบูรพา, 9(2), ธันวาคม 2549-พฤษภาคม 2550, หน้า 69-80.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2551). การสร้างผลงานศิลปกรรมสื่อประสมจากสัมพันธภาพของชีวิต” ในวารสารศิลปกรรมบูรพา, 11(1), มิถุนายน – พฤศจิกายน 2551, หน้า 6-19.
ผลงานสร้างสรรค์
พ.ศ. 2562
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2562). Stream of Religion (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/ International Art & Design Invitation Exhibition Thailand Burapha University). 11-15 กุมภาพันธ์ 2562. ชลบุรี: หอศิลปะนิทรรศ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2562). ครอบครัวในดินแดนศาสนา (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/นิทรรศการศิลปนิพนธ์). วันที่ 21-25 พฤษภาคม 2562. กรุงเทพฯ: หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน.
พ.ศ. 2561
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2561). ตำรา ปฏิบัติการวาดเส้นพื้นฐาน. ชลบุรี: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2561). Land of Eye’s Mind (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/ International Art & Design Invitation Exhibition). 5-8 กุมภาพันธ์ 2561. ชลบุรี:หอศิลปะนิทรรศ. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2561). สองสภาวะ (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/ นิทรรศการตัวตนที่แตกต่าง). วันที่ 15-27 พฤษภาคม 2561. กรุงเทพฯ: หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร.
พ.ศ. 2560
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2560). Calmness in The Night Religion (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/2017 Four Discourse). 3-6 กุมภาพันธ์ 2560. ชลบุรี: หอศิลปะนิทรรศ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2560). จังหวะแห่งจิตใต้สำนึกกับมิติทางศาสนา (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/ นิทรรศการ ตามหาฉัน). วันที่ 8-14 พฤษภาคม 2560. กรุงเทพฯ: หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2560). Goodness of Water Buffalo (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/ นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา ประจำปี 2560 “คงอยู่ และเปลี่ยนแปลง”). วันที่ 7-24 กันยายน 2560. กรุงเทพฯ: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์เจ้าฟ้า.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2560). วังวนแห่งจิต (ภาพวาดสีอะครายลิคบนผ้าใบ/นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา ประจำปี 2560 “คงอยู่ และเปลี่ยนแปลง”). วันที่ 7-24 กันยายน 2560. กรุงเทพฯ: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์เจ้าฟ้า.
– จำนงค์ ธนาวนิชกุล. (2560). Love, Goodness, Happiness (ภาพวาดสีอะครายลิคบนเครื่องปั้นดินเผา/ นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา ประจำปี 2560 “คงอยู่และเปลี่ยนแปลง”). วันที่ 7-24 กันยายน 2560. กรุงเทพฯ: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์เจ้าฟ้า.
ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในนิตยสารและสื่อสิ่งพิมพ์นิตยสารและหนังสือ
พ.ศ. 2535 – นิตยสาร “ศิลปวัฒนธรรม” : หน้า 169- นิตยสารมาตุภูมิรายสัปดาห์ : 8-14 พฤษภาคม 2536, หน้า 28
– นิตยสาร “DECOR” : ปีที่ 2, ฉบับที่ 18
พ.ศ. 2536
– นิตยสาร “บ้านและสวน”
พ.ศ. 2540
– นิตยสาร “Reader ‘s Digest สมสาระ : กันยายน
พ.ศ. 2547 – นิตยสาร FINE ART ปีที่ 1, ฉบับที่ 5 : มิถุนายน
– นิตยสาร FINE ART ปีที่ 1, ฉบับที่ 9 : ตุลาคม
พ.ศ. 2552
– นิตยสาร FINE ART ปีที่ 6, ฉบับที่ 55 : พฤษภาคม
พ.ศ. 2553
– หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานทัศนศิลป์ มัธยมศึกษาปีที่ 2, หน้า 23, 52
งานอื่น ๆ
วิทยากรและกรรมการวิชาการ (พ.ศ. 2543-ปัจจุบัน)
– วิทยากร “ค่ายการเรียนรู้และการวัดแววทางศิลปะ
– วิทยากร “ค่ายศิลปกรรมศาสตร์สำหรับเยาวชนคณะศิลปกรรมศาสตร์”
– วิทยากร การนำเสนอผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ “การสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรม
สื่อประสมจากสัมพันธภาพของชีวิต”
– กรรมการตรวจรูปแบบผลงานทางวิชาการและงานวิจัย
– กรรมการตรวจรูปแบบต้นฉบับเอกสารประกอบผลงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์
– กรรมการประกันคุณภาพการศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์
– กรรมการบริหารวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์
– กรรมการบัณฑิตศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์
– กรรมการส่งเสริมและพัฒนางานศิลปวัฒนธรรมและบริการวิชาการ
– กรรมการวิชาการที่ปรึกษาแนวทางการสร้างสรรค์ศิลปกรรมเพื่อพัฒนาสู่ผลงานศิลปนิพนธ์
– กรรมการวิชาการศิลปกรรมศาสตร์สัญจรสำหรับเยาวชน
– ที่ปรึกษาโครงการนิทรรศการศิลปกรรมสื่อผสม ระดับปริญญาตรี
– ที่ปรึกษาโครงการนิทรรศการศิลปกรรมทัศนศิลป์ 2 มิติ ระดับปริญญาโท
– ที่ปรึกษากลุ่มศิลปินตะวันออก
– กรรมการพิจารณาหลักสูตรวิชาโททัศนศิลป์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร
– กรรมการประเมินคุรภาพรายงานวิจัย “การสร้างสรรค์ผลงานทางจิตรกรรมชุด : ชุดธงชาติไทยประกอบเพลงชาติไทย”
– ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบทางวิชาการวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม