Fine Art Burapha University

Posted by:

|

On:

|

วุฒิการศึกษา

– ปริญญาตรี ศ.บ. (ศิลปไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2547

– ปริญญาโท ศ.ม. (ศิลปไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2550

ผลงานวิชาการ
บทความวิจัย– ภาสกร แสงสว่าง. (2556). ภาพลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์จากความปิติสุขในวิถีชีวิตชนบทไทย.  วารสารศิลปกรรมบูรพา, 15(2), หน้า 84 – 95.บทความวิชาการ- ภาสกร  แสงสว่าง. (2557). ผลกระทบที่มีบทบาทต่อความเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประดับตกแต่งอาคารทางศาสนาในวัด (ประเภทวัดราษฎร์). วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(2). 1547-1571.- ภาสกร  แสงสว่าง. (2560). รูปแบบปั้นลม อาคารบ้านเรือนที่เปลี่ยนแปลงไปตามฐานานุศักดิ์ของผู้อาศัย. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 10(1). 2039-2053.

งานสร้างสรรค์


พ.ศ. 2562 (2019)
– “My King (Kingrama 9)” / International Art & Design Invitation Exhibition 2019/จัดแสดงระหว่างวันที่ 11 – 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562- ประติมากรรมทรายของมหาวิทยาลัยบูรพา ในงานประเพณีวันไหลบางแสน ประจำปี 2562- “Kingrama x” /นิทรรศการศิลปนิพนธ์ “Mind Code ” “รหัสศิลป์” ของนิสิตชั้นปีที่ 4 ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพฯ /ระหว่างวันที่ 21-25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562- การดำเนินการสร้างงานประติมากรรมจำลอง ในส่วนโซนนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจังหวัดชลบุรี”/ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน -7 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัดชลบุรี- โครงการชลบุรีร่วมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ภายใต้ชื่องาน “ดนตรี กวี ศิลป์”  27 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ แหลมแท่น ชายหาดบางแสน

พ.ศ. 2561(2018)   

– “My King (Kingrama 5)” /International Art & Design Invitation Exhibition 2019”/ณ ห้องศิลปนิทรรศ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา/ จัดแสดงระหว่างวันที่ 11 – 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561- ประติมากรรมนูน “พุทธประวัติ”. (2561). เพื่อประดับผนังภายในพระอุโบสถ์ วัดสุวรรณโฆษิต ในโครงการสร้างสรรค์ประติมากรรมนูน เรื่อง พุทธประวัติ ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และ ปรินิพพาน ณ วัดสุวรรณโฆษิต ต.ควนพัง อ.ร่อนพิบูล จ.นครศรีธรรมราช- ประติมากรรมทรายของมหาวิทยาลัยบูรพา ในงานประเพณีวันไหลบางแสน ประจำปี 2561- “Receptacle” /นิทรรศการศิลปนิพนธ์ “Our Shade” ของนิสิตชั้นปีที่ 4 /ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ชั้น L /จัดแสดงตั้งแต่วันที่ 15 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561- ผลงานบริการวิชาการ /ที่ปรึกษาด้านการออกแบบศิลปกรรมและตกแต่งภายในอาคาร “โครงการศูนย์การเรียนรู้ประวัติศาสตร์เทศบาลตำบลเกาะสีชัง”/ ณ บริเวณศูนย์ราชการเทศบาลตำบลเกาะสีชัง 2 หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเทววงษ์ อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี- การทดลองขึ้นรูปใบหน้าจากกะโหลกศรีษะคนโบราณ ในโครงการมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์และพลวัตทางวัฒนธรรมบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว) และมหาวิทยาลัยศิลปากร  (เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ช่วงนี้อยู่ในช่วงดำเนินงาน)

พ.ศ. 2560(2017)   

– “Reign in King Rama”/ นิทรรศการ “2017 FOUR DISCOURSE” /ณ ห้องศิลปนิทรรศ  คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา /จัดแสดงระหว่างวันที่ 3-6 กุมภาพันธ์ 2560- ประติมากรรมทรายของมหาวิทยาลัยบูรพา ในงานประเพณีวันไหลบางแสน ประจำปี 2560- “Receptacle”/นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา “คงอยู่ & เปลี่ยนแปลง” ครั้งที่ 5  ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า กรุงเทพฯ /จัดแสดงระหว่างวันที่ 7 – 24 กันยายน พ.ศ. 2560- “ควย – ข้าว”/นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา “คงอยู่ & เปลี่ยนแปลง” ครั้งที่ 5  ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า กรุงเทพฯ /จัดแสดงระหว่างวันที่ 7 – 24 กันยายน พ.ศ. 2560- “ฮอยค…ว…ย”/นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา “คงอยู่ & เปลี่ยนแปลง” ครั้งที่ 5  ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า กรุงเทพฯ /จัดแสดงระหว่างวันที่ 7 – 24 กันยายน พ.ศ. 2560- งานสร้างสรรค์ประติมากรรมจำลองภาพพระราชกรณียกิจ เพื่อเข้าร่วมในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมราชบพิตร” /ณ ลานหน้าศาลากลางจังหวัดชลบุรี/ ตั้งแต่วันที่ 10 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560- “ภูมิพล – พลังของแผ่นดิน”/ นิทรรศการ “ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร์” เพื่อใช้ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงหน้าศาล จ.ชลบุรี  /วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559(2016)

– “ภูมิพล – พลังของแผ่นดิน” /นิทรรศการ จิตรกรรมบัวหลวง : เพื่อน้อมรำลึกในพระมหา กรุณาธิคุณ /ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ /ตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2559 ถึงวันที่ 13 มกราคม 2560- “หยดน้ำพระทัย” /นิทรรศการ “ศิลปะเพื่อพ่อหลวง” ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา /ณ หอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา  ระหว่างวันที่ 9 ธันวาคม 2559 – 30 มกราคม พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2558(2015)   

– ภาสกร แสงสว่าง. (2558). ผู้เจริญ. สูจิบัตร นิทรรศการศิลปกรรมบูรพา 2558 “สร้างสรรค์+ ชุมชน = เอกภาพ”, ๖๔ – ๖๕.- Pasakon Sangsawang. (2016). Prof.Dr.Thamrong Buasri (Sculpture). 2016 Neo – Code, 3.

3. Pasakon Sangsawang. (2016). Born. The 13th Great Oriental Art Exhibition, 67.

อีเมล
[email protected]

มือถือ
0865140274

โทรศัพท์